วันอาทิตย์ที่ 23 กรกฎาคม พ.ศ. 2560

ฟังก์ชันเชิงเส้น

  1. 1. ฟังก์ชันเชิงเส้น ฟังก์ชันเชิงเส้น คือ ฟังก์ชันที่อยู่ในรูป y = ax+b เมื่อ a ,b เป็นจำนวนจริง และ กรำฟของ ฟังก์ชันเชิงเส้นจะเป็นเส้นตรง ตัวอย่ำงของฟังก์ชันเชิงเส้น ได้แก่ 1) y = x 2) y =2x +1
  2. 2. 3) y = -3x ฟังก์ชัน y = ax + b เมื่อ a = 0 จะได้ฟังก์ชันที่อยู่ในรูป y = b ซึ่งมีชื่อ เรียกว่ำ ฟังก์ชันอ่านเพิ่มเติม
ผลการค้นหารูปภาพสำหรับ ฟังก์ชันเชิงเส้น

ความสัมพันธ์เเละฟังก์ชัน

1.คู่อันดับ ในวิชาคณิตศาสตร์การจับคู่ระหว่างสิ่งสองสิ่งที่มีความสัมพันธ์กันจะใช้คู่อันดับ เป็ นสัญลักษณ์แทนสิ่งสองสิ่งที่มีความสัมพนัธ์กนั เช่น (2,4) หมายถึง 2 มีความสัมพนัธ์กบั 4 ในกรณีทวั่ ไป เราจะเขียนคู่อนัดบั ในรูป (a,b) เรียก a วา่ สมาชิกตวัแรกของคู่ออ่านเพิ่มเติม

ผลการค้นหารูปภาพสำหรับ ความสัมพันธ์และฟังก์ชัน ม.4

ฟังก์ชัน

ในคณิตศาสตร์ ฟังก์ชัน คือ ความสัมพันธ์ จากเซตหนึ่งที่เรียกว่าโดเมน ไปยังอีกเซตหนึ่งที่เรียกว่าโคโดเมน (บางครั้งคำว่าเรนจ์อาจถูกใช้แทน แต่เรนจ์นั้นมีความหมายอื่นด้วย "โคโดเมน" จึงเป็นที่นิยมมากกว่า เพราะไม่กำกวม) โดยที่สมาชิกตัวหน้าไม่ซ้ำกัน ความคิดรวบยอดของฟังกอ่านเพิ่มเติม

ผลการค้นหารูปภาพสำหรับ ฟังก์ชั่น

วันจันทร์ที่ 3 กรกฎาคม พ.ศ. 2560

จำนวนจริง

จำนวนจริง คือจำนวนที่สามารถจับคู่หนึ่งต่อหนึ่งกับจุดบนเส้นตรงที่มีความยาวไม่สิ้นสุด (เส้นจำนวน) ได้ คำว่า จำนวนจริง นั้นบัญญัติขึ้นเพื่อแยกเซตนี้ออกจากจำนวนจินตภาพ จำนวนจริงเป็นศูนย์กลางการศึกษาในสาขาคณิตวิเคราะห์จำนวนจอ่านเพิ่มเติม

ผลการค้นหารูปภาพสำหรับ จํานวนจริง

การให้เหตุผลเเบบนิรนัย

   การให้เหตุผลแบบนิรนัยเป็นการนำความรู้พื้นฐานซึ่งอาจเป็นความเชื่อ ข้อตกลง กฎ หรือบทนิยาม ซึ่งเป็นสิ่งที่รู้มาก่อน และยอมรับว่าเป็นความจริงเพื่อหาเหตุผลนำไปสู่ข้อสรุป เป็นการอ้างเหตุผลที่มีข้อสรุปตามเนื้อหาสาระที่อยู่ภายในขอบเขตของข้ออ้างที่กำหนอ่านเพิ่มเติม

ผลการค้นหารูปภาพสำหรับ การให้เหตุผลแบบนิรนัย

การให้เหตุผลเเบบอุปนัย

ารให้เหตุผลแบบอุปนัย เป็นวิธีการสรุปผลมาจากการค้นหาความจริงจากการสังเกตหรือการทดลองหลายครั้งจากกรณีย่อยๆ แล้วนำมาสรุปเป็นความรู้แบบทั่วไป
           การหาข้อสรุปหรือความจริงโดยใช้วิธีการให้เหตุผลแบบอุปนัอ่านเพิ่มเติม

ผลการค้นหารูปภาพสำหรับ การให้เหตุผลแบบอุปนัย

ยูเนียน อินเตอร์เซกชันเเละคอพลีเมนต์ของเซต

ยูเนียน (Union) มีนิยามว่า เซต A ยูเนียนกับเซต B คือเซตซึ่งประกอบด้วยสมาชิกที่เป็นสมาชิกของเซต A หรือ เซต B หรือทั้ง A และ B สามารถเขียนแทนได้ด้วย สัญลักษณ์ A ∪ Bอ่านเพิ่มเติม

union

สับเซตเเละเพาเวอร์เซต


A เป็นสับเซตของ B นั้นหมายความว่า เซต B จะต้องใหญ่กว่าหรือเท่ากันกับเซต A และเนื่องจากเซต A ย่อยออกมาจากเซต B สมาชิกทุกตัวใน A จะต้องอยู่ในเซต B ด้วยสับเซต (subset) ถ้าแปลตรงตัวก็คือ เซตย่อย ที่ย่อยออกมากจากอีกเซต เช่น ถ้าบอกว่า 
A เป็นสับเซตของ B นั้นหมายความว่า เซต B จะต้องใหญ่กว่าหรือเท่ากันกับเซต A และเนื่องจากเซต A ย่อยออกมาจากเซต B สมาชิกทุกตัวใน A จะต้องอยู่ในเซต B ด้ อ่านเพิ่มเติม

ผลการค้นหารูปภาพสำหรับ สับเซตและเพาเวอร์เซต

เอกภพสัมพัทธ์

อกภพสัมพัทธ์ คือ เซตที่ถูกกำหนดขึ้นโดยมีข้อตกลงว่า จะกล่าวถึงสิ่งที่เป็นสมาชิกของเซตนี้เท่านั้น จะไม่กล่าวถึงสิ่งอื่นใดที่ไม่เป็นสมาชิกของเซตนี้ โดยทั่วไปจะใช้สัญลักษณ์ แทนเซตที่เป็นเอกภพสัมพัทอ่านเพิ่มเติม

ผลการค้นหารูปภาพสำหรับ เอกภพสัมพัทธ์

เซต

เซต เป็นคำที่ไม่ให้ให้นิยาม (Undefined Term) เรามักใช้เซตแทนสิ่งที่อยู่ร่วมกัน ซึ่งหมายถึงกลุ่มของสิ่งต่างๆ ที่เราสามารถกำหนดสมาชิกได้ชัดเจน (Well-Defined) หรือก็คือความหมายของเซตนั่นเออ่านเพิ่มเติม

venn-euler-diagram